เอสเอ็น 1987เอ
หน้าตา
เอสเอ็น 1987เอ | |
---|---|
วงแหวนรอบๆ SN 1987A ที่มีการกระทบจากการระเบิดซูเปอร์โนวาที่เป็นศูนย์กลางของภายในวงแหวน | |
ข้อมูลสังเกตการณ์ (ต้นยุคอ้างอิง J2000.0) | |
ประเภทซูเปอร์โนวา | ประเภท II-P (ผิดปกติ) |
ประเภทซาก | ไม่ทราบ |
ดาราจักรถิ่น | เมฆมาเจลลันใหญ่ (LMC) |
กลุ่มดาว | กลุ่มดาวปลากระโทงแทง |
ไรต์แอสเซนชัน | 05h 35m 28.03s (J2000) [1] |
เดคลิเนชัน | −69° 16′ 11.79″ (J2000) [1] |
พิกัดทรงกลมท้องฟ้า | G279.7-31.9 |
วันที่ค้นำบ | 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1987 (23:00 UTC) [2] |
โชติมาตรปรากฏ (V) | +2.9 |
ระยะห่าง | 167,885 ปีแสง, หรือ 51.47 กิโลพาร์เซก |
ลักษณะทางกายภาพ | |
ดาวฤกษ์ต้นกำเนิด | Sanduleak -69° 202 |
ประเภทดาวฤกษ์ต้นกำเนิด | ดาวยักษ์ใหญ่สเปกตรัม B3 |
สี (B-V) | +0.085 |
คุณลักษณะที่โดดเด่น | ซูเปอร์โนวาที่ใกล้ที่สุดที่บันทึกไว้ ตั้งแต่มีการประดิษฐ์ของกล้องโทรทรรศน์ |
เอสเอ็น 1987เอ (อังกฤษ: SN 1987A) เป็นมหานวดาราในบริเวณของเนบิวลาทารันทูลาในเมฆมาเจลลันใหญ่ เกิดขึ้นห่างจากโลกประมาณ 51.4 กิโลพาร์เซก หรือประมาณ 168,000 ปีแสง[1] ซึ่งเป็นมหานวดาราที่สังเกตการได้ใกล้ที่สุดนับจาก เอสเอ็น 1604 ที่เกิดขึ้นในทางช้างเผือก แสงจากมหานวดารานี้มาถึงโลกเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1987[3].
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 "SN1987A in the Large Magellanic Cloud". Hubble Heritage Project. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2006-07-25.
- ↑ "IAUC4316: 1987A, N. Cen. 1986". 24 February 1987.
- ↑ Bibcode:1987A&A...177L...1W
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ เอสเอ็น 1987เอ
- Picture of Supernova 1987A
- AAVSO: More information on the discovery of SN 1987A
- Rochester Astronomy discovery timeline
- Light echoes from Sn1987a, Movie with real images by the group EROS2
- Animation of light echoes from SN1987A
- Supernova 1987A เก็บถาวร 2004-11-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, by Richard McCray[ลิงก์เสีย] (astrophysicist, University of Colorado at Boulder)
- SN 1987A at ESA/Hubble เก็บถาวร 2008-12-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Supernova 1987A, WIKISKY.ORG
- More information at Phil Plait's Bad Astronomy site